การเคลื่อนที่แนวดิ่ง
การเคลื่อนที่แนวดิ่ง เป็นการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกอย่างอิสระภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลกเพียงแรงเดียว การเคลื่อนที่ลักษณะนี้จะไม่คิดแรงต้านของอากาศ เนื่องจากการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง คือ การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงแบบหนึ่งดังนั้นสมการในการคำนวณจึงเหมือนกับ สมการการเคลื่อนที่ในแนวราบเพียงแต่เปลี่ยนค่า a เป็น g เท่านั้น อ่านเพิ่มเติม
*การกำหนดทิศทางของ g ซึ่งเป็นความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก โดยปกติ g จะมีทิศลงเสมอ จึงถือว่าวัตถุเคลื่อนที่ลงให้ g เป็นบวก วัตถุเคลื่อนที่ขึ้นให้ g เป็นลบ
ลักษณะการเคลื่อนที่แนวดิ่งมี 3 ลักษณะ
1.ปล่อยวัตถุลง (u=0)
2. ปาวัตถุลง (u≠0)
3.โยนวัตถุขึ้น (u≠0)
สูตร
ตัวอย่างโจทย์การเคลื่อนที่แนวดิ่ง
1.ปล่อยวัตถุลง (u=0)
2. ปาวัตถุลง (u≠0)
3.โยนวัตถุขึ้น (u≠0)
สูตร
** (g มีค่าประมาณ 10 m/s² )
ตัวอย่างโจทย์การเคลื่อนที่แนวดิ่ง
1. ปาก้อนหินให้ตกลงมาจากยอดตึก ด้วยความเร็วต้น 10 m/s ก้อนหินกระทบพื้นด้วยความเร็ว 40 m/s ตึกสูงกี่เมตร
2. โยนวัตถุขึ้นจากพื้นด้วยความเร็วต้น 30 m/s วัตถุขึ้นไปได้ถึงจุดสูงสุดภายในเวลากี่วินาที
2. โยนวัตถุขึ้นจากพื้นด้วยความเร็วต้น 30 m/s วัตถุขึ้นไปได้ถึงจุดสูงสุดภายในเวลากี่วินาที
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น